นักศึกษาที่กำลังเตรียมตัวจะเดินทางไปศึกษาต่อต่างประเทศ มักจะมีคำถามเสมอว่า ต้องตรวจโรคก่อนเดินทางไหม ในบางประเทศถือเป็นกฎที่นักศึกษาต้องมีผลตรวจสุขภาพตั้งแต่ตอนขอวีซ่าเลย คือ ประเทศอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประเทศออสเตรเลีย และประเทศนิวซีแลนด์
โรคหนึ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการตรวจสุขภาพ คือ โรควัณโรค(Tuberculosis) หลายคนสงสัยว่า ทำไมต้องตรวจหาเชื้อวัณโรค สาเหตุคงจะมาจากการที่องค์การอนามัยโรค หรือ World Health Organization ได้กำหนดให้ประเทศไทยอยู่ในประเทศที่มีระดับความเสี่ยงมากที่สุดในการติดเชื้อโรคนี้ได้ง่ายจากจำนวน 22 ประเทศ จากข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข ของไทย กล่าวถึง 10 พื้นที่เสี่ยงสูงของประเทศไทยที่มีการติดเชื้อวัณโรค คือ นนทบุรี กาญจนบุรี ระยอง อุบลราชธานี เชียงใหม่ นครราชสีมา จันทบุรี ชลบุรี เชียงราย และศรีสะเกษ
ดังนั้นหลายๆประเทศจึงกำหนดให้นักศึกษาไทยจะที่ไปศึกษาต่อในต่างประเทศเป็นระยะเวลานานเกินกว่า 6 เดือน ต้องได้รับการตรวจหาเชื้อวัณโรค ซึ่งการตรวจสุขภาพนั้นก็ขึ้นอยู่กับสถานทูตประเทศนั้นๆ จะกำหนดชื่อโรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาล รวมทั้งรายนามแพทย์ที่ได้รับการรับรองจากสถานทูตในประเทศที่นักคึกษาต้องการเลือกไปศึกษาต่อ
1. วีซ่านักเรียนไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ http://www.vfsglobal.co.uk/thailand/thai/important_information.html
ผู้ที่ได้รับการตอบรับเข้าศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษนานเกินกว่า 6 เดือนต้องมีผลการตรวจสุขภาพ โดยนักศึกษาต้องไปลงทะเบียนตรวจสุขภาพที่ องค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน หรือ International Organization for Migration (IOM) https://thailand.iom.int/health-services
IOM Migration Health Assessment (https://thailand.iom.int/health-services) ตั้งอยู่ที่ 120 อาคารเกษมกิจ ชั้น 8 ถนนสีลม บางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 02-234-7950-5 โทรสาร 02-234-7956 อีเมล์ [email protected] เวลาทำการ วันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 8.00-17.00 น. (ยกเว้นวันหยุดขององค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้านถิ่นฐาน) เอกสารที่ต้อง เตรียมไปติดต่อ คือ https://thailand.iom.int/sites/default/files/MHAC%20Documents/Information%20Sheet%20UK%202017%28THAI%29%20update.pdf
- หนังสือเดินทางตัวจริงที่มีอายุการใช้งานนานเกินกว่า 6 เดือน พร้อมสำเนา 1 ชุด
- บัตรประชาชนตัวจริงของผู้ปกครอง พร้อมสำเนา 1 ชุด (สำหรับเด็กอายุตั้งแต่ 11-15 ปี ต้องแนบใบสูติบัตรตัวจริง พร้อมสำเนา)
- รูปถ่ายสี หน้าตรง 2 รูป ขนาด 1.5 นิ้ว คูณ 2 นิ้ว อายุไม่เกิน 6 เดือน
- ใบรับรองการตั้งครรภ์ หรือสมุดฝากครรภ์ สำหรับผู้ที่ตั้งครรภ์
- ค่าใช้จ่ายในการตรวจ 3,800 บาทต่อคน ทั้งนี้ต้องชำระเป็นเงินสดที่สำนักงานองค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิ่นฐาน เพื่อลงทะเบียนก่อนรับการตรวจ
- ที่อยู่ที่จะเข้าไปพักในสหราชอาณาจักร กรณียังไม่ทราบที่อยู่และเป็นวีซ่านักเรียน ให้แจ้งชื่อโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัยได้
เวลานัดหมายการตรวจอยู่ระหว่างเวลา 9.00-12.00 น. และเวลา 13.00-15.00 น. หลังจากผู้ต้องการตรวจเซ็นต์หนังสือยินยอมรับการตรวจ ผู้ต้องการตรวจหาเชื้อวัณโรคจะถูกส่งไปตรวจที่โรงพยาบาลพญาไท2 หรือ โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเดียน ที่ใดที่หนึ่ง หลังจาการตรวจเสร็จสิ้นและสามารถนำฟิล์มกลับมาที่ IOM ได้ก่อนเวลา 15.00 น. แพทย์จาก IOM จะออกใบรับรองให้ได้ในวันเดียวกัน อนึ่งนักศึกษาที่จะเดินทางไปประเทศอังกฤษต้องลงทะเบียนรับการตรวจล่วงหน้า 8-10 สัปดาห์ หรือก่อนยื่นขอวีซ่า 3 เดือน และไม่นานเกินกว่า 6 เดือน เพราะใบรับรองแพทย์มีอายุการใช้งานนาน 6 เดือน ดังนั้นใบรับรองแพทย์ไม่ควรหมดอายุก่อนการเดินทาง และใบรับรองแพทย์ควรมีใบปะหน้าตามที่ VFS Global กำหนดแนบไปด้วย http://www.vfsglobal.co.uk/Thailand/pdf/scanning-process-docs.pdf
2. วีซ่านักเรียนไปศึกษาต่อที่ประเทศออสเตรเลีย http://www.vfsglobal.com/australia/thailand/thai/student.html
เช่นเดียวกับประเทศอังกฤษ ถ้าไปเรียนนานเกินกว่า 6 เดือน ต้องมีผลการตรวจสุขภาพด้วย หรือศึกษาเพิ่มเติมจากสามเว็บไซต์นี้
- http://www.homeaffairs.gov.au/trav/visa-1/500-
- http://www.homeaffairs.gov.au/trav/visa-1/500-?modal=/trav/visa/heal/meeting-the-health-requirement/health-examinations/my-health-declarations
- http://www.homeaffairs.gov.au/trav/visa/heal/meeting-the-health-requirement/health-examinations
เว็บไซต์หมายเลข 3 จะมี Countries TB risk level,Which countries do not require immigration health examinations? และ Which countries do require immigration health examinations?
การตรวจสุขภาพ สถานทูตออสเตรเลียได้กำหนดชื่อสถานพยาบาล โรงพยาบาลที่จะตรวจสุขภาพผู้ยื่นขอวีซ่า http://www.homeaffairs.gov.au/about/contact/offices-locations/thailand มีดังนี้ คือ โรงพยาบาลกรุงเทพ, โรงพยาบาลบางกอกเนอสซิ่งโฮม, IOM, โรงพยาบาลเชียงใหม่ราม, โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต และ โรงพยาบาลเอกอุดรที่จังหวัดอุดรธานีอุดรธานี ดังที่อยู่ต่อไปนี้
กรุงเทพมหานคร
1. Medical and Raiology Clinic, Bangkok General Hospital, 2 Soi Soon Vichai 7, New Phetchburi Road 10310, Telephone: 02-310-3000 Fax: 02-310-3335 รายนามแพทย์
- Dr.Jantana Pongsanguansin
- Dr.Kanwar Singh
- Dr.Sumalee Kewcharoen
- Dr.Tanat Phaisakamas
- Dr.Sumitra Werawatganon
- Dr.Paiboon Siripongwishet
2. Medical and Radology Clinic, Bangkok Nursing Home(BNH) Hospital, 9/1 Convent Road, Silom, Bangkok 10500, Tel: 02-686-2700 Fax: 02-686-2849 รายนามแพทย์
- Dr.Charan Malhotra
- Dr.kessanee Oransatheinrakul
- Dr.Jittima Thamarpirat
3. International Organization for Migration ( IOM ) 8th Floor, Kasemkij Building 120
Silom Road, Bangrak, Bangkok 10500, Tel: 02 234 7950 or ext 7951, 7952, 7953, 7954, 7955 Fax: 02 234 7956
รายนามแพทย์
- Dr Somruetai Katekamon
- Dr Wasant Supakunatom
- Dr Kitti Likhitwannawut
- Dr Dmitry Shapovalov
จังหวัดเชียงใหม่
Medical and Radiology Clinic, Chaing Mai Ram Hospital,8 Boonruangrit Road, A. Muang, Chiangmai 50200, Tel: 053-920-300 Fax: 053-224-880
รายนามแพทย์
- Dr Chaiyasri Assanasen
- Dr.Dolrithai Rabin
- Dr Pimpun Chomcherngpat
จังหวัดภูเก็ต
Medical and Raiology Clinic
Wellness Center Bangkok Hospital Phuket, 2/1 Hongyok-Utis Road, Taladyai, Muang, Phuket 83000, Tel: 076-25-4421 Fax:076-25-4421 ext 1351 รายนามแพทย์
- Dr.Somsak Thiplueporn
จังหวัดอุดรธานี
Medical and Radiology Clinic, Aek Udon International Hospital, 555/5 Posri Road,Amphur Muang, Udonthani 41000, tel: 042-342-555, Fax: 042-341-033
รายนามแพทย์
- Dr Paradee Sa-nguandeekul
- Dr Akkararat Sartsungnern
3. วีซ่านักเรียนไปศึกษาต่อที่นิวซีแลนด์
- https://www.immigration.govt.nz/new-zealand-visas/apply-for-a-visa/tools-and-information/medical-info/when-you-need-an-x-ray-or-medical-examination
- https://www.immigration.govt.nz/documents/checklists/thailand/checklist-for-bangkok-student-visa-general.pdf
เหมือนสองประเทศข้างต้นคือ ถ้าไปศึกษานาน 6 เดือนขึ้นไปต้องมีผลตรวจปอด สำหรับรายชื่อโรงพยาบาลที่สถานทูตนิวซีแลนด์กำหนดให้ผู้ที่จะไปศึกษาต่อที่นิวซีแลนด์เกิน 6 เดือนต้องไปตรวจสุขภาพ คือ ที่กรุงเทพมหานคร มีโรงพยาบาลสมิติเวช โรงพยาบาลบางกอกเนอสซิ่ง โฮม(บีเอ็นเอช) Global Doctor และโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ที่จังหวัดเชียงใหม่มี 3 แห่ง และ โรงพยาบาลขอนแก่นรามที่จังหวัดขอนแก่น รายละเอียดที่อยู่โรงพยาบาลและรายนามแพทย์ตามเว็บไซต์ https://www.immigration.govt.nz/new-zealand-visas/apply-for-a-visa/tools-and-information/medical-info/when-you-need-an-x-ray-or-medical-examination#https://www.immigration.govt.nz/new-zealand-visas/apply-for-a-visa/tools-and-information/tools/panel-physicians/slider มีดังนี้คือ
กรุงเทพมหานคร
1. Bangkok General Hospital 2 Soi Soon Vichai 7, New Phetchburi Road, Bangkok 10310 Tel: 02-310-3000 Fax: 02-310-3335
2. Bangkok Nursing Home Hospital 9/1 Convent Road, Bangkok 10500, Tel:02-686-2700 Fax: 02-632-0577-79
3. International Organization Migration (IOM) 8Th Floor, Kasemkij Building, 120 Silom Road, Bangrak, Bangkok 10500 Tel: 02-234-7950-55
จังหวัดเชียงใหม่
Chiangmai Ram Hospital 8 Boonruangrit Road, A. Muang, Chiangmai 50200
จังหวัดภูเก็ต
Wellness Center Bangkok Hospital Phuket 2/1 Hongyok Utis Road, Taladyai, Muang,
Phuket 83000 Tel: 076-25-4421
จังหวัดอุดรธานี
Aek Udon International Hospital 555/5 Posri Road, Amphur Muang, Udonthani 41000 Tel: 042-342-555 Fax: 042-341-033
ส่วนแบบฟอร์มตรวจวัณโรคขอได้ตามโรงพยาบาลที่กำหนด อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.immigration.govt.nz/documents/forms-and-guides/inz1121.pdf
4. วีซ่านักเรียนไปศึกษาต่อที่ประเทศแคนาดา
- https://www.canada.ca/en/immigration-refugees-citizenship/services/study-canada.html
- https://www.canada.ca/en/immigration-refugees-citizenship/services/application/medical-police/medical-exams/requirements-temporary-residents.html
เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆคือ ถ้าเข้าไปเรียนนานเกิน 6 เดือนต้องมีผลตรวจปอดด้วย และการรอฟังผลตรวจใช้เวลานาน 3 เดือน การยื่นขอวีซ่าเข้่ไปเรียนที่ประเทศแคนาดาจึงต้องมีการวางแผนล่วงหน้านานประมาณ 5-6 เดือนก่อนสถานศึกษาเปิดเรียน สามารถตรวจสอบระยะเวลาดำเนินการได้ที่เว็บไซต์ http://www.cic.gc.ca/english/information/times/index.asp
สำหรับ รายชื่อโรงพยาบาลและรายนามแพทย์ ที่สถานทูตแคนาดาให้การรับรองตามเว็บไซต์
http://www.cic.gc.ca/pp-md/pp-list.aspx มีดังนี้ คือ
กรุงเทพมหานคร
1. Dr. Charan Malhotra , BNH Hospital, 9/1 Convent Rd, Silom, Bangkok Tel: 02-022-0700
2. Dr. Jittima Thamarpirat , BNH Hospital, 9 Convent Road( off Silom Road), Bangkok 10500, Tel: 02-022-0700
3. Dr.Kanwar T Singh Bangkok General Hospital, New Petchburi Road, 2 Soi Soonvijai 7, Bangkok 10320, Tel: 02-318-0066
4. International Organization for Migration(IOM), 8th Floor Kasemkij Building,
120 Silom Road,Bangkok Tel: 02-234-7950
จังหวัดเชียงใหม่
1. Dr. Chaiyasri Assanasen , Chiangmai Ram Hospital, 8 Boonreungrit Road, A.Maung, Chiangmai 50200 Tel: 053-920-300
2. Dr. Pimpun Chomcherngpat, Chiangmai Ram Hospital, 8 Boonreungrit Road, A.Maung, Chiangmai 50200 Tel: 053-920-300
3. Dr. Sutthinee Wiladsakdanon, Chiangmai Ram Hospital, 8 Boonreungrit Road, A.Maung, Chiangmai 50200 Tel: 053-920-300
4. Dr. Dolrithai Rabin, Chiangmai Ram Hospital, 8 Boonreungrit Road, A.Maung, Chiangmai 50200 Tel: 053-920-300
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
International Organization for Migration (IOM), Srisangwan Hospital,
101 Singha Nart Bamrung Road, Chongkham Sub-district, Muang District, Mae Hong Son 58000
จังหวัดตาก
International Organization for Migration – Refugee Processing Center,230 M4,
Mae Pa Sub-District, Mae Sot, Tak 63110 Tel: 55 039809 ext 9542
Copyright © 2010-2011 GoVisaEdu All righInts reserved.