มารู้จักเว็บไซต์ศุลกากรโลก (World Customs Organization)

องค์กรศุลกากรโลก ( World Customs Organization)  มีความเป็นมาจากคณะกรรมการความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป 13 ประเทศที่ต้องการจัดตั้งกลุ่มศึกษาเพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ในการสร้างสหภาพศุลกากรระหว่างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการของแกตต์ในปีพ.ศ.2490 (ค.ศ.1947) และในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2495(ค.ศ.1952) กติกาสัญญาจัดตั้งคณะมนตรีความร่วมมือทางศุลกากร (Customs Cooperation Council – CCC) ก็ได้ถือกำเนิดขึ้น คณะมนตรีความร่วมมือทางศุลกากรทำหน้าที่ในการเสริมสร้างและสนับสนุนการดำเนินงานและการบริหารงานของศุลกากรประเทศต่างๆให้มีประสิทธิภาพ ปัจจุบันมีประเทศที่เข้าเป็นสมาชิกนับถึงเดือนตุลาคม 2555 รวม 179 ประเทศ โดย ประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกขององค์การศุลกากรโลก เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 (ค.ศ.1972) (ที่มา: http://www2.customs.go.th/OpenFile.jsp?docId=K00014 )

เว็บไซต์องค์กรศุลกากรโลก (World Customs Organization) นอกจากจะให้ความรู้ในเรื่องความเป็นมาขององค์กร, หน่วยงานภายในองค์กร, วันองค์การศุลกากรโลกแล้ว ยังให้ขอมูลเกี่ยวกับวันที่เข้าเป็นสมาชิกของแต่ละประเทศ

http://www.wcoomd.org/en/about-us/wco-members/~/media/WCO/Public/Global/PDF/About%20us/

WCO%20Members/List%20of%20Members%20with%20membership%20date.ashx

WCO1

องค์กรศุลกากรประจำภูมิภาคมีด้วยกัน 4 แห่งคือ

1. องค์กรศุลกากรประจำภูมิภาคอเมริกาและแคริเบียน

2.  องค์กรศุลกากรประจำภูมิภาคยุโรป

3.  องค์กรศุลกากรประจำภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิก

4.  ก. องค์กรศุลกากรประจำภูมิภาคอาฟริกาตะวันออกและใต้

4. ข. องค์การศุลกากรประจำภูมิภาคอาฟริกาตะวันตกและภาคกลาง

WCO2

ดังนั้นเมื่อต้องการเดินทางเข้าไปในประเทศ A ผู้เดินทางสามารถค้นหาลิงก์เว็บไซต์ศุลกากรของประเทศ A ตามภูมิภาคที่ประเทศ A นั้นตั้งอยู่ เมื่อคลิกไปที่เว็บไซต์ของประเทศสมาชิกที่ต้องการแล้ว ผู้เดินทางสามารถค้นหาข้อมูลในเรื่องข้อห้ามนำสิ่งใดเข้าไปในประเทศ A และสิ่งใดที่นำเข้าประเทศ A ได้ ตามเว็บไซต์  http://www.wcoomd.org/en/about-us/wco-members/customs-websites.aspx

wco3

ยกตัวอย่างประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ 5 ประเทศดังนี้คือ

WCO4

WCo7

WCO5

ประเทศสหรัฐอเมริกา : http://www.cbp.gov/xp/cgov/travel/

WCO6

สหราชอาณาจักรอังกฤ https://www.gov.uk/government/organisations คลิกเลือก Home Office และคลิกเลือก Customs and Travel Information คลิกเลือก Custom จะได้เว็บไซต์หน้าต่อไปนี้ที่อธิบายถึงสิ่งที่ห้ามนำเข้าในสหราชอาณาจักร

http://www.ukba.homeoffice.gov.uk/customs-travel/customs/

WCo8

Copyright © 2010-2013 GoVisa All rights reserved

ของที่ห้ามนำเข้าอเมริกา

ของที่ห้ามนำเข้าอเมริกา ผู้เดินทาง  หรือ นักศึกษาที่กำลังจะไปเรียนต่อในประเทศสหรัฐอเมริกาหลายท่านสงสัยว่า มีสิ่งของประเภทใดบ้าง ที่นำเข้าไปในสหรัฐอเมริกาได้ และสิ่งใดบ้างที่ไม่ควรนำติดตัวเดินทางเข้าไปในประเทศสหรัฐอเมริกา เว็บไซต์ของทางการสหรัฐอเมริกาที่ควรเข้าไปค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมคือ เว็บไซต์ของ Transportation Security Administration หรือ  https://www.tsa.gov/travel/security-screening/whatcanibring/all    และเว็บไซต์ของ  US Customs and Border Protection https://www.cbp.gov/travel/us-citizens/know-before-you-go/prohibited-and-restricted-items

เนื่องจากทั้งสองเว็บไซต์ข้างต้นนี้เป็นเว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐบาลจึงเป็นคลังข้อมูลที่ดีที่สุด แต่ทั้งสองเว็บไซต์กำลังอยู่ในข่วงการรองบประมาณรัฐ เพื่อการปรับปรุงเว็บไซต์ อาจจะทำให้การค้นข้อมูลของท่านมีการสะดุดบ้างเล็กน้อย

ข้อควรระมัดระวังในการจัดกระเป๋า มีดังนี้คือ

Continue reading “ของที่ห้ามนำเข้าอเมริกา”